เนื้อหาการเรียนรู้ประกอบการเรียน

วิชาการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ Science Curriculum Development

8.12.52

การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาของประเทศไทย

การปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย
ปัญหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของไทย
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด

2.1 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับสังคมไทย มักมองวา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนสิ่งที่ซับซอนเขาใจยาก ทำใหไมสนใจและไมอยากเรียนรูหรือนำมาใช แมแตผูกํ าหนดนโยบายหรือผูนำประเทศก็มีทัศนคติวาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนเพียงวิชาการแขนงหนึ่งเทานั้น การจัดสรรงบประมาณจึงเปนไปเทาที่ทรัพยากรจะเอื้ออํ านวยให้

2.2 สถานภาพระดับความสามารถของประเทศไทยในการแขงขันกับนานาชาติที่ปรากฏในการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันระหวางประเทศใน WorldCompetitiveness Yearbook ซึ่งเปนรายงานประจํ าป2544 ในดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเทศไทยอยูอันดับที่ 49 จาก 49 ประเทศ ในการวิเคราะหถึงสาเหตุของความตกต่ำซึ่งประกอบดวย 5 จจัยหลัก คือ

1)! าใชายของประเทศในดานการวิจัยและพัฒนาทั้งภาพรวมและในภาคเอกชน

2)! บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาของประเทศโดยรวมและในภาคเอกชน

3)! การจัดการดานเทคโนโลยี ในดานความรวมมือและการพัฒนาเทคโนโลยี

4)! สิ่งแวดลอมทางวิทยาศาสตรในประเทศ เชน รางวัลโนเบล การวิจัยพื้นฐาน การศึกษา

5)! สิทธิบัตรและการคุมครองทรัพยสินทางปญญา ทั้งดานจำนวนและการใหความคุมครอง

2.3 การพัฒนากำลังคนทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํ าหรับประเทศไทยมีนักวิจัยและพัฒนาเพียง

ประมาณ 2 คน ตอประชากร 10,000 คน จัดอยูในกลุมประเทศที่ลาหลังที่สุด ทั้งที่สถานะทางศรษฐกิจบงชี้วาควรมีกำลังคนในการวิจัยและพัฒนามากกวานี้นับสิบเทา


1 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

มีต่ออีกนิด